พระพุทธศาสนากับปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ ตอนที่ 1
พระมหาดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ท่านได้เมตตานำเรื่องราวการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยหลักทางพระพุทธศาสนาในหัวข้อธรรมที่มีชื่อว่า พระพุทธศาสนากับปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติธรรมชาติเนื้อหาจะเป็นอย่างไรนั้นเราไปติดตามชมพร้อมกันเลยค่ะ
ทำไมปัจจุบันจึงมีผู้คนนิยมเลี้ยงสัตว์มากขึ้น
ปัจจุบันมีผู้คนนิยมเลี้ยงสัตว์มากขึ้น คนที่เลี้ยงสัตว์ก็มีหลายเหตุผล บ้างก็เลี้ยงไว้เฝ้าบ้าน เลี้ยงไว้เป็นเพื่อน เลี้ยงไว้ประดับบารมี บ้างก็เลี้ยงไว้เอาบุญ บ้างก็เลี้ยงเพื่อทำเป็นธุรกิจ เป็นต้น
ทำไมจึงมีสถิติการหย่าร้างเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ
การแต่งงานคือสิ่งที่หลายๆท่านคิดว่าเป็นที่สุดแล้วของชีวิตคู่ หรือที่สุดของความรักแล้วตัดสินใจแต่งงานกัน แต่ยังมีอะไรอีกมากมายต่อจากนี้ หลายๆท่านก็ไม่สมหวังกับความรัก ก็หย่าร้างกัน
ข้อสงสัยเกี่ยวกับวัดพระธรรมกาย
หลายคนมีคำถามที่เกี่ยวข้องกับวัดพระธรรมกาย บางคนที่เคยมาวัดแล้วก็ยังมีคำถามอยู่บ้าง แต่บางคนที่ไม่เคยมาเลย อาจจะเคยได้ยินได้ฟังจากการบอกเล่าของคนอื่นหรือจากสื่อต่างๆ บางครั้งก็อาจสื่อความหมายให้เข้าใจผิดกันได้ง่ายๆ
MOU ระหว่าง DMC Channel กับ สถานีโทรทัศน์ the buddist channel ศรีลังกา
ขอเชิญรับชมการถ่ายทอดสด ประวัติศาสตร์การเซ็นต์ MOU ระหว่างสถานีโทรทัศน์ the buddist channel กับ DMC Channel ในวันพุธ 29 กันยายน 2553 น เวลา 18.30 น.ทาง www.thebuddhist.tv
บัณฑิตกับพหูสูตแตกต่างกันอย่างไร
พหูสูต หมายถึง ผู้ที่มีความรู้ความสามารถและนำความรู้ความสามารถไปใช้ในทางที่ดีอย่างถูกต้อง และเกิดประโยชน์กับสังคมด้วย
กฏหมายกับกฏแห่งกรรมคุณกลัวอะไรมากกว่ากัน
กฎหมายกับกฎแห่งกรรมมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร คนส่วนใหญ่จะเกรงกลัวกฎหมายหรือกฎแห่งกรรมมากกว่ากัน กฎหมายมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ แล้วกฎแห่งกรรมนั้นเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้หรือไม่
ทีมงาน จ.สุพรรณบุรี ลงพื้นที่ชวนบวชสามเณร
พระภิกษุสงฆ์จากศูนย์ปฏิบัติธรรมพระมงคลเทพมุนี พร้อมด้วยครูอาสาจังหวัดสุพรรณบุรีพร้อมเจ้าหน้าที่จากชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ได้ลงพื้นที่ชวนเด็กนักเรียนในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี ร่วมบรรพชาในช่วงปิดเทอมนี้
ประมวลภาพพิธีตักบาตรพระภิกษุ-สามเณร อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน
ประมวลภาพพิธีตักบาตรพระภิกษุ-สามเณร อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน วันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2559
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้